Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/949
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pongjan Yoopat | - |
dc.contributor.author | Alisa Yaungnoon, อลิสา ยวงนุ่น | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T04:52:55Z | - |
dc.date.available | 2022-03-30T04:52:55Z | - |
dc.date.issued | 2017 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/949 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc. (Biomedical Sciences)) – Rangsit University, 2017 | en_US |
dc.description.abstract | การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกมีผลกระทบต่อทั้งผลผลิตและสุขภาพของ คน ในประเทศไทย เกษตรกรที่ปลูกข้าวซึ่งทางานกลางแจ้งและได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์โดยตรง อาจเกิดปัญหาสุขภาพการมีภาวะความเครียดจากความร้อน วัตถุประสงค์ในการศึกษาแบบตัดขวาง ในครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบผลการตอบสนองทางสรีรวิทยาของร่างกายในเกษตรกร ขณะทาการเก็บ เกี่ยวและจัดเก็บเมล็ดข้าวเปลือก ระหว่างการทางานในระยะเวลา 1 ชั่วโมง ภายใต้สภาพอากาศร้อน ชื้น การเลือกกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง อาสาสมัครผู้เข้าร่วม โครงการวิจัยเป็นเกษตรกร จานวน 25 คน (เพศชาย 6 หญิง 19 คน) มีอายุเฉลี่ย 48 ± 11 ปี ลักษณะ การทางานแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม ได้แก่ เกี่ยวข้าว นวดข้าว ฝัดข้าว และคัดข้าว ทาการศึกษาการ ตอบสนองทางสรีรวิทยาของร่างกาย ซึ่งประกอบด้วย แบบสอบถามความรู้สึกล้าจากภาระงาน หรือ Subjective Workload Index (SWI) วัดอัตราการเต้นของหัวใจ ระบบการไหลเวียนเลือด (ภาระงาน ของหัวใจและหลอดเลือด) น้าหนักตัวที่ลดลง และ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย ทาการศึกษาสภาพแวดล้อมด้วยดัชนีความเครียดจากความร้อนตามมาตรฐาน ISO 7243 (WBGT) วัดอุณหภูมิสภาพแวดล้อมบริเวณที่ทางาน ผลการศึกษาพบว่าภาระงานระบบหัวใจไหลเวียนเลือด ของเกษตรกรในกิจกรรมเกี่ยวข้าวมีค่าสูงที่สุด (44.25%CVL) ขณะที่กิจกรรมคัดข้าวมีค่าภาระงาน หัวใจต่าที่สุด (26.33%CVL) ทาการวิเคราะห์และนาเสนอด้วย ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า สภาพแวดล้อมมีค่า สภาพอากาศ เสียง แสงสว่าง มีความ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ การประเมินความเครียดจากความร้อนโดยดัชนีตามมาตรฐาน ISO 7243 จากกลุ่มตัวอย่างนี้ พบว่า กิจกรรมนวดข้าว อยู่ในขอบเขตที่สูงเกินกว่ามาตรฐานที่กาหนดซึ่งควรลด ระยะเวลาการทางานเหลือ 25% พัก 75% กิจกรรมคัดข้าวอยู่ในขอบเขตที่สูงรองลงมา ควรลด ระยะเวลาการทางานเหลือ 50% พัก 50% ขณะที่กิจกรรมเกี่ยวข้าวและฝัดข้าวอยู่ในระดับค่า มาตรฐานการทางานภายใต้สภาวะอากาศร้อนที่ปลอดภัย | en_US |
dc.language.iso | English | en_US |
dc.publisher | Rangsit University | en_US |
dc.subject | Heat Transfer | en_US |
dc.subject | Body temperature regulation | en_US |
dc.title | Physiological thermal strain of rice farmers in Thailand : a pilot study | en_US |
dc.title.alternative | การตอบสนองทางสรีรวิทยาขณะทำงานในสภาพอากาศร้อนของชาวนาในประเทศไทย : การศึกษานำร่อง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Global climate changes affect both productivity and the health status of people. In Thailand, rice farmers working under solar radiation are frequently confronted with heat stress. The objective of this cross-sectional study was to compare the physiological responses of the rice farmers among four harvesting tasks performed over 1 hour under hot conditions. The sample selection was a purposive sampling. Twenty-five farmers (six males and nineteen females) aged 48 ± 11 years were voluntarily participating in the project. Their main tasks included harvesting, threshing, winnowing, and rice screening. The used assessment methods concerned the perceived work strain (Subjective Workload Index; SWI), and the objective measured physiological reactions - heart rate - the cardiovascular load -, body weight loss, and the evolution of body temperature. The assessment criteria included heat stress index Wet Bulb Globe Temperature (WBGT; ISO 7243), and the cardiac response (cardiovascular load; CVL). The results were presented in the descriptive statistics of means and standard deviation of means. The results showed that the most intensive effort was harvesting (44.23%CVL) where the rice screening task was the lowest (26.335%CVL). The additional environmental factors including noise and lighting were significantly different between tasks. According to ISO 7243, threshing (70% manual, 30% mechanized) worked was antagonized in the upper stressful zone where performing job and resting schedule should be adjusted to 25% work and 75% rest, followed by rice screening with a work-rest schedule of 50/50%. However harvesting and winnowing were in the safe zone from heat stress | en_US |
dc.description.degree-name | Master of Science | en_US |
dc.description.degree-level | Master's Degree | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | Biomedical Sciences | en_US |
Appears in Collections: | Sc-BS-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Alisa Yaungnoon.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.