Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/960
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ญาดา กาศยปนันทน์ | - |
dc.contributor.author | พระมงคลสุตาคม (สิทธิชัย ชาวเพชร) | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T06:41:41Z | - |
dc.date.available | 2022-03-30T06:41:41Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/960 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ – (น.ม. (นิติศาสตร์)) – มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | บทความเรื่องมาตรการทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของไทย ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายทรัพยากรป่าไม้ในต่างประเทศ 3) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของไทย และ4) เพื่อนำไปใช้ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายมาตรการการบังคับใช้ตามกฎหมายทรัพยากรป่าไม้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการดำเนินการวิจัยทางด้านกฎหมาย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลจากบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เอกสาร หนังสือ คำอธิบาย บทความในตำราอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำเสนอการดำเนินงานตามมาตรการทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของไทย การศึกษาวิจัยพบว่า มาตรการทางกฎหมายทรัพยากรป่าไม้ระหว่างประเทศเป็นความตกลงระหว่างประเทศในเรื่องที่สำคัญเฉพาะเรื่องที่ทำเป็นตราสารสมบูรณ์ประกอบด้วยอนุสัญญาระหว่างประเทศ เป็นอนุสัญญาเกิดจากวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม มีพัฒนาการแนวคิดและความเคลื่อนไหวป่าไม้ระดับโลกเกิดจากการแย่งชิงทรัพยากรป่าไม้ แบ่งเป็น 3 ยุค การบริหารงานป่าไม้ในต่างประเทศที่ได้ผลดี พบว่า ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านการป่าไม้ ส่วนในประเทศไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และกฎหมายว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้มี 5 ฉบับ กฎหมายแต่ละฉบับมีข้อบกพร่อง ส่งผลให้งานป่าไม้ของไทยไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ปัญหาทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของไทยอยู่ที่เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ ซึ่งการกำหนดโทษปรับกรณีบุกรุกทำลายพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายไทยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ให้คงสภาพไว้ได้ดียาวนานที่สุด แนวทางแก้ไขปัญหา คือ ควรกำหนดให้นายทุนที่ได้รับสัมปทานปลูกป่าชดเชย ควรลงโทษผู้กระทำผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ และกฎหมายอื่นๆ ควรแสวงหาป่าเพิ่ม เพื่อปลูกป่าใหม่สำหรับผู้ได้รับสัมปทานที่เป็นนายทุน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ทรัพยากรป่าไม้ -- การจัดการ -- ไทย | en_US |
dc.subject | ป่าไม้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en_US |
dc.subject | ป่าไม้ -- การจัดการ | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ของไทย | en_US |
dc.title.alternative | Legal measures for management of Thai forest resources | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Research Legal Measures for the Management of Forest Resources in Thailand The research objectives were 1) to study legal measures in forest resources in Thailand, 2) to study legal measures, forest resources in foreign countries, 3) to study legal measures in forest resource management in Thailand. And 4) to be used to amend the law, the measures to enforce the law, the forest resources This thesis is a legal research. Qualitative Research by analyzing data from legal provisions, documents, books, descriptions of articles in other texts. associated To present the implementation of legal measures in forest resource management in Thailand. The study found that. International forest law is an international agreement on specific matters that constitute a complete instrument, including international conventions. It is a convention caused by the natural crisis that arises from environmental change. The development of the concept and movement of the world forests caused by the exploitation of forest resources divided into three periods of effective forest management in foreign countries, found that people can participate in promoting and supporting the forest. Wood In Thailand The Constitution of the Kingdom of Thailand BE 2560 and the Law on Forest Resource Management contain 5 edicts each of which has defects. As a result, the Thai forestry sector is not successful. The legal issues in managing forest resources in Thailand are the intent of the Act. The punishment for forest destruction in Thai law is aimed at preserving and restoring the forest for the longest. The solution should be to allow capitalists to receive forest concession compensation. Should punish offenders under the Forest Act. And other laws. Should seek a wilderness. To plant a new forest for the concessionaire. | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phramongkolsutakom (Sitthichai Chaophet).pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.