Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/992
Title: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และคะแนนพัฒนาการการเรียนรู้ระหว่างการเรียนรู้เชิงรุก และการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ (5E) ต่อการเรียนวิชาชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Other Titles: The comparative study of learning achievements and developmental scores between active learning and 5e inquiry learning models on biology of cellular respiration of the tenth grade students
Authors: กิตติกรณ์ หงษ์ยิ้ม
metadata.dc.contributor.advisor: กนกพร ฉายะบุระกุล
Keywords: การจัดการเรียนรู้ -- วิจัย;ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย;การเรียนรู้เชิงรุก
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและคะแนนพัฒนาการ ต่อการเรียน ระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) และกลุ่มตัวอย่างที่ ได้รับการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ (5E) ในรายวิชาชีววิทยา เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จา นวน 2 ห้องเรียน แผนการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎร์บา รุงปทุมธานีอา เภอเมือง จังหวัด ปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 ทั้งสองกลุ่มได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งประกอบไปด้วยมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 2 ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ได้รับการจัดการเรียนรู้วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นห้องที่ผู้วิจัย รับผิดชอบสอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและแผนการจัดการ เรียนรู้วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ อย่างละ 6 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จา นวน 40 ข้อ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการสอนของครูและแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของ นักเรียน 4) แบบบันทึกภาคสนาม ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบ เสาะหาความรู้ 5E มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 2 ที่ ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกมีคะแนนพัฒนาการไม่แตกต่างกันกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 ห้อง 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ 5E อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 (3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกมีทักษะในการ กระตือรือร้นในการถามคา ถาม การตอบคา ถาม การแบ่งปันข้อมูลระหว่างเพื่อนร่วมกลุ่มและเพื่อน ต่างกลุ่ม การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานในกลุ่มมากกว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู้ (5E)
metadata.dc.description.other-abstract: The action study aims (1) to compare the learning achievements between Active learning model and 5E Inquiry learning model groups and (2) to compare the developmental scores between the experimental groups using Active learning model and 5E Inquiry learning model of Biology subject in the topic of Cellular respiration. The samples of this study were the tenth grade students from two classrooms of Science- Mathematics major, Kanaratbamrung Pathumthani School, Muang District, Pathumthani province. The study was conducted in the first semester, academic year 2017. The samples were selected by purposive sampling method. They consists of the classroom No.2 of the tenth grade which using Active learning model and the classroom No.3 of the tenth grade which using 5E Inquiry learning model. In addition, it was necessary to note that both classrooms were under the responsibility of the researcher as a teacher. Four research instruments were (1) lesson plans of Active learning and 5E Inquiry learning models: 6 plans per each model (2) student’s and teacher’s behavioral observation forms (3) designed field note recording any phenomenon during the in- class period and (4) learning achievements test The results of these studies were (1) the post learning achievements of the tenth grade students showed that the experimental group using 5E Inquiry learning model (Classroom No.3 students) had higher scores than that of the experimental group using Active learning model (Classroom No.2 students). The result indicated that the statistically significant difference (p < 0.05) (2) the developmental scores between the experimental group using Active learning model (Class 2 students) and the experimental group using 5E Inquiry learning model (Class 3 students) showed no statistically significant difference (p > 0.05) and the Active learning model group also had learning abilities more than that 5E Inquiry learning model group.
Description: วิทยานิพนธ์ ( ศศ.ม.(การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การสอนวิทยาศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/992
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittikorn Hongyim.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.