Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1254
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณเพ็ญ ฉายปรีชา-
dc.contributor.authorอชิตา เทพสถิตย์-
dc.date.accessioned2022-08-19T06:19:20Z-
dc.date.available2022-08-19T06:19:20Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1254-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ แนวแฟนตาซี เพื่อส่งเสริมการกินแบบถูกหลักโภชนาการ (ลดหวาน) ให้แก่เด็กไทย เพราะปัจจุบันได้เกิดอุบัติการณ์โรคอ้วนในเด็กไทยเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะเด็กในช่วงวัยประถมศึกษา ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะก่อให้เกิดโรคร้ายแรงต่าง ๆ ในอนาคตเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ก็ได้ตระหนักถึงภัยคุกคามที่รุนแรงนี้ จึงได้จัดตั้งเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวานขึ้น เพื่อลดพฤติกรรมการบริโภคนํ้าตาลล้นเกินสาเหตุของโรคอ้วน แต่ทางเครือข่ายก็ยังมีสื่อไม่เพียงพอและมีความต้องการสร้างกระแสสังคมให้ตระหนักถึงความจำเป็นของการบริโภคนํ้าตาลในระดับที่เหมาะสม ผู้วิจัยจึงได้ร่วมสนับสนุนและศึกษาแนวทางการสร้างสื่อในรูปแบบที่เหมาะสมและเข้าถึงเด็กในช่วงวัยประถม โดยได้ลงพื้นที่สัมภาษณ์จริง เด็กกลุ่มเป้าหมายตัวอย่างมักจะชอบการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ โดยเฉพาะแนวแฟนตาซี จึงได้สร้างสื่อแอนิเมชัน 3 มิติ แนวแฟนตาซีเกี่ยวกับการกินอย่างถูกหลักโภชนาการ (ลดหวาน) ขึ้นมาใช้เผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ในการรณรงค์เพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการกินต่อไป เมื่อได้นำสื่อไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายตัวอย่างเด็กไทย อายุ 6-12 ปี ที่กำลังศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนอนุบาลพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ ที่เคยเข้าร่วมโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเกิน และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาในเด็กนักเรียน โดยได้ทดสอบกับกลุ่มเป้าหมายตัวอย่าง ชั้นปีละ 9 คน รวมทั้งหมด 6 ชั้นปี โดยคิดเป็นจำนวน 54 คน โดยได้มีเก็บสถิติจากการสอบถามโดยรวม 54 คน และสัมภาษณ์ความเข้าใจและการรับรู้เรื่องโภชนาการอาหาร ก่อน-หลัง ดู สื่อรายบุคคล จำนวนชั้นปีละ 3 คน รวมทั้งหมด 18 คน ทำให้ได้สื่อที่มีคุณภาพ เมื่อนักเรียนศึกษาสื่อแล้วมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางบวก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สื่อแอนิเมชัน 3 มิติ แนวแฟนตาซีเกี่ยวกับการกินอย่างถูกหลักโภชนาการนั้นสามารถทำให้เด็กเข้าใจในสิ่งที่ต้องการถ่ายทอด ในส่วนของเนื้อเรื่องที่ตัวละคร มีพฤติกรรมการกินที่ผิดและถูกรวมถึงผลลัพธ์ที่ตามมาให้เข้าใจได้โดยง่าย และมีความรู้เกี่ยวกับ การกินที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น และจะมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในแนวทางที่ดีขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแอนิเมชั่น -- การผลิตen_US
dc.subjectโภชนาการ -- วิจัยen_US
dc.titleการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ การกินอย่างถูกหลักโภชนาการen_US
dc.title.alternativeThe 3D Animation Design for nutrition eatingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this research is to study 3D Fantasy Animation Design and make the animation to motivate and educate young Thai kids to have the knowledge of proper diet. Obesity in childhood is now a serious health issue which it's caused by over consumption of sugar and sweet that will affects Thai kids with diseases. The Obesity Prevention and Nutrition Program will be launched by using the 3D Fantasy Animation as media among the kids age between 6-12 years old which is in primary 1-6. Phraboromrachanusorn Donchedi School has joined the program by gathering information from 54 students from primary 1-6, taking 9 students from each class. The statistics collected from 54 students by questionnaire about nutrition and 18 students by media projection. It has given the conclusion that the use of 3D Fantasy Animation as a media to help giving the knowledge of proper diet and obesity prevention is useful to the young kids and it has drawn the kids' attention to improve their daily diet by eating right.en_US
dc.description.degree-nameศิลปมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineคอมพิวเตอร์อาร์ตen_US
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Achita Thepsathit.pdf25.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.