Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1267
Title: | การพัฒนาชุดทดลองทอร์กและโมเมนต์ความเฉื่อยเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสายปัญญารังสิต |
Other Titles: | The development of physics experimental set in toque and moment of inertia to develop Mattayomsuksa 5 students'learning achievment at Saipanyarangsit school |
Authors: | ศุภชัย ทองเข็ม |
metadata.dc.contributor.advisor: | กาญจนา จันทร์ประเสริฐ |
Keywords: | โรงเรียนสายปัญญารังสิต -- นักเรียน -- วิจัย;นักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- ปทุมธานี -- วิจัย;ฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย |
Issue Date: | 2557 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดทดลองเรื่อง ทอร์กและโมเมนต์ความเฉื่อยที่มีประสิทธิภาพทางวิทยาศาสตร์ ที่ให้ผลการทดลองที่มีความคลาดเคลื่อน ไม่เกิน ±5 เปอร์เซ็นต์ 2) พัฒนาชุดทดลองเรื่อง ทอร์กและโมเมนต์ความเฉื่อยที่มีประสิทธิภาพทางการศึกษาตามเกณฑ์ 80/80 3) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวิชาฟิสิกส์เรื่อง ทอร์กและโมเมนต์ความ เฉื่อย ของนักเรียนโรงเรียนสายปัญญารังสิตการสร้างและพัฒนาชุดทดลองโดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิจารณา การหาคุณภาพของชุดทดลองโดยการประเมินของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน การทดลองใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 39 คนและห้องเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 45 คน โรงเรียนสาย ปัญญารังสิต โดยการเลือกแบบเจาะจงผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการพัฒนาชุดทดลองเรื่อง ทอร์กและโมเมนต์ความเฉื่อย มีประสิทธิภาพทางวิทยาศาสตร์ มีค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกิน ±5 เปอร์เซ็นต์ 2) ประสิทธิภาพทางการศึกษาของชุดทดลองเรื่อง ทอร์กและโมเมนต์ความเฉื่อย ของกลุ่ม ตัวอย่างห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ มีค่าร้อยละ 93/88 และกลุ่มตัวอย่างห้องเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ มีค่าร้อยละ 54/613) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดทดลองเรื่อง ทอร์กและโมเมนต์ ความเฉื่อย มีค่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purposes of this research were 1) to develop experimental set in torque and momentof inertia to get the ± 5 percent science error efficiency 2) to get 80/80 education efficiency 3) to study students’ learning achievement at Saipanyarangsit School. The construction and development of the experiment sets was achieved through five experts’ determination. The experiment used sample group of science – mathematic gifted classroom was 39 students and science-mathematic classroom were 45 students in Mattayomsuksa 5 students’ at Saipanyarangsit School in Phathumthani province by purposive selection. The findings were as follows: 1) The result of the experimental development set in Torque and Moment of Inertia was ± 5 percent error efficiency science. 2) The efficiency of experimental set in Torque and Moment of Inertia was 93/88 education efficiency index in science–mathematic gifted classroom and 54/61 in sciencemathematic classroom education efficiency index. 3) Students’ learning achievement by studying in experimental set in Torque and Moment of Inertia had higher level of learning achievement than their pre-test at the level of significance .05. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การสอนวิทยาศาสตร์ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1267 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supachai Thongkem.pdf | 4.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.