Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัยพร นันท์ศุภวัฒน์, อำภาพร นามวงศ์พรหม-
dc.contributor.authorสุรีย์วรรณ รัตนกิจสุนทร-
dc.date.accessioned2022-10-07T04:01:12Z-
dc.date.available2022-10-07T04:01:12Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1289-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบ prospective intervention study มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง และภาวะน้้าเกินในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องชนิดถาวร กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องชนิดถาวรที่มีภาวะน้้าเกิน จำนวน 19 ราย เข้าร่วมโปรแกรมการจัดการตนเองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากแนวคิดการจัดการตนเอง (Self – Management) ของ Kanfer and Gaelick – Buys (1991) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม การให้ความรู้เป็นรายบุคคล การฝึกทักษะการจัดการตนเอง ร่วมกับการติดตามและประเมินผลภาวะน้้าเกิน โดยผู้วิจัยติดตามกลุ่มตัวอย่างทั้งทางโทรศัพท์ และที่แผนกล้างไตทางช่องท้อง เพื่อให้คะแนะนำปรึกษาเป็นรายบุคคล เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังเข้าโปรแกรม ด้วยแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการจัดการตนเอง และภาวะน้้าเกิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ Paired t – test ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการจัดการตนเอง หลังเข้าโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) และค่าเฉลี่ยน้้าหนักหลังเข้าโปรแกรมต่ำกว่าก่อนเข้าโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) ผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนการน้าโปรแกรมการจัดการตนเองไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเอง และภาวะน้้าเกินในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องชนิดถาวร ข้อเสนอแนะของการวิจัยครั้งต่อไปควรวิจัยติดตามผลในระยะยาว เพื่อศึกษาความคงอยู่ของพฤติกรรมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้ป่วย -- การดูแลตนเอง -- วิจัยen_US
dc.subjectการพยาบาล -- วิจัยen_US
dc.subjectไต -- โรค -- การรักษา -- วิจัยen_US
dc.subjectไต -- โรค -- ผู้ป่วย -- การดูแล -- วิจัยen_US
dc.titleพฤติกรรมการจัดการตนเองและภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องชนิดถาวรที่ได้ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองen_US
dc.title.alternativeSelf-management behaviors and volume overload in patients with caps receiving self-management programen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis prospective intervention study aimed to investigate the self – management behaviors and volume overload in patients participating self – management program. A purposive sample of 19 persons with CAPD and volume overload at CAPD unit was recruited for this study. Kanfer and Gaelick – Buys’ s self – management was used a conceptual framework to develop the self – management program. The subjects participated in the program received individual education, training including self – management volume overload, follow up and evaluation and individual counseling by telephone and CAPD unit follow up. Self - management behaviors and volume overload were assessed before and after the program. Descriptive statistics and paired t – test were used to analyze the data. After 12 weeks, it was found that the-scores of self management behaviors increased significantly (p = .000) and volume overload decreased significantly (p = .000) The findings of this study suggest the effectiveness of the program in patients with CAPD . Follow -up study in long term should be considerseden_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUREEWAN RATANAKITSUNTHORN.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.