Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1542
Title: ปัญหากฎหมายซึ่งเกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551: ศึกษาเฉพาะกรณีการห้ามโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Other Titles: Legal issues arising from the act controlling alcoholic beverages B.E. 2551: study only on the prohibition of electronic advertisements on alcoholic beverages
Authors: ชินพรรธน์ เกตุไทยวีรกุล
metadata.dc.contributor.advisor: ธเนศ สุจารีกุล
Keywords: เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ;พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551;โฆษณา -- เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- ไทย
Issue Date: 2564
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: ในปัจจุบันมีการแข่งขันทางการตลาดอย่างสูงสำหรับผลิตภัณฑ์ ซึ่งทาให้ผู้ผลิตแสวงหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของตนได้รับความสนใจ บริษัทผู้ผลิตส่วนใหญ่เลือกใช้การโฆษณาเป็นเครื่องมือในการดึงดูดลูกค้าสำหรับผลิตภัณฑ์ของตน รวมทั้งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างไรก็ดี โดยที่เครื่องดื่มแอลกอฮอล์สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ประเทศไทยจึงได้ออก “พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2551” มาควบคุมการโฆษณา พระราชบัญญัตินี้มาตรา 32 วรรคหนึ่งกำหนดว่า “ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือแสดงชื่อหรือเครื่องหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณ หรือชักจูงใจ ให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม” และวรรค 2 กำหนดในสาระในเชิงข้อยกเว้นว่าการโฆษณา ซึ่งปรากฏแต่เพียงสัญลักษณ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือสัญลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นสามารถทาได้ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง” บทบัญญัติกฎหมายดังกล่าวข้างต้นก่อให้เกิดปัญหาการตีความกฎหมายว่าอะไรคือ การโฆษณาอวดอ้างหรือชักจูงใจให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม อะไรคือสัญลักษณ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรืออะไรคือสัญลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งที่จะศึกษาปัญหาดังกล่าว ตลอดจนวิถีและวิธีในการแก้ปัญหาเหล่านั้น
metadata.dc.description.other-abstract: At present, there are highly market competitions for products which thereby make producers of the products questing for a variety of means to make their products attractive. Most of the producers opt for advertisements as the means to induce customers for their products, including alcoholic beverages. However, as alcoholic beverages can affect health of the people, Thailand therefore has enacted the “Act Controlling Alcoholic Beverages B.E. 2551” to control advertisement. This Act Article 32 Paragraph 1 provides that “no person shall advertise alcoholic beverages, or showing names or symbols of alcoholic beverages which are exaggerated or induce other persons to drink directly or indirectly”; and Article 32 Paragraph 2 provides in essence in an exception tone that advertisements which appear only symbols of alcoholic beverages or symbols of producers of alcoholic beverages can be done as provided for by the ministerial regulations. The aforementioned provisions give rise to legal interpretation as to what are advertisements which are exaggerated or induce other persons to drink directly or indirectly; what are symbols of alcoholic beverages; or what are symbols of producers of alcoholic beverages. This Thesis aims at studying the said issues as well as the ways and means to solve them.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2564
metadata.dc.description.degree-name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: นิติศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1542
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:Law-Law-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHINAPATH GATETHAIVEERAKUL.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.