Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1669
Title: บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษากับการปฏิรูปการเรียนรู้ที่มีผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 เพชรบูรณ์
Other Titles: Roles of secondary education schools administrators and educational reform for students center under education office area 40, Phetchabun
Authors: จุฑารัตน์ ปะวะเน
metadata.dc.contributor.advisor: ประทุม แป้นสุวรรณ
Keywords: ผู้บริหารโรงเรียน -- เพชรบูรณ์ -- วิจัย;โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร -- เพชรบูรณ์ -- วิจัย
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็น บทบาทหน้าที่ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในการปฏิรูปการเรียนรู้ที่มีผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เพชรบูรณ์ จำนวน 317 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงความถี่ และค่าความแปรปรวนทางเดียว One - Way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ปีการศึกษา 2556 เมื่อจำแนกตามขนาดโรงเรียน ข้อมูลทั่วไปส่วนใหญ่ พบว่า (1) การจัดกระบวนการเรียนรู้ (2) สื่อการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้ (3) การประเมินผลการเรียนรู้ (4) การสร้างและพัฒนาหลักสูตร (5) การสร้างความร่วมมือกับชุมชน (6) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (7) การพัฒนาบุคลากร ทั้งโดยภาพรวมและรายด้านกันแตกต่างกัน แต่ไม่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารกับการปฏิรูปการเรียนรู้ที่มีผู้เรียนเป็นสาคัญแต่อย่างใด
metadata.dc.description.other-abstract: The purposes of the research were the Roles of secondary education schools administrators and educational reform on students center under education office area 40, Phetchabun. The samples were 317 people who were school administrators, teachers and school board. The research tool was a 5 rating scales questionnaire that the reliability was equal at 0.93 The statistical used on this research were mean, percentage, standard deviation, frequency and One - Way ANOVA The research results showed the school administrators teachers and educational personnel grammar school under the office of education school area 40. Year 2556. When possessed by size school found that the most common data (1) the learning process. (2) learning materials and learning resources.(3)evaluation of learning, (4) building and curriculum development., (5) collaboration with the community. (6) research to develop learning (7) workforce development both as a whole and the different aspect as. But does not affect the functioning of management and the reform of learning with learners.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (สาขาวิชาบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การบริหารการศึกษา
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1669
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JUTARAT PAVENE.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.