Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1670
Title: การบริหารงานวิชาการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40
Other Titles: Academic results based management (RBM) administrators, teachers and students of secondary education schools service area office 40
Authors: นิรุตต์ มูลสี
metadata.dc.contributor.advisor: ประทุม แป้นสุวรรณ
Keywords: โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร -- วิจัย;ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- วิจัย
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เปรียบเทียบการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 และศึกษาแนวคิดปัญหาการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 โดยจำแนกสถานภาพเพศ อายุ วุฒิการศึกษาสูงสุด ตำแหน่ง และประสบการณ์ ตามลักษณะของขนาดสถานศึกษา กลุ่มประชากรที่ใช้ศึกษา จานวน 195 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีคาความเชื่อมั่นเท่ากับ .85 การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานการวิจัยใช้ค่า Z-test ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบัน ปัญหาการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ทั้ง 3 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) การเปรียบเทียบสภาพปัจจุบัน ปัญหาการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
metadata.dc.description.other-abstract: The purposes of the research were (1) to study the state of problem academic administration of the secondary education service area office 40 (2) to the comparison of state of problem academic administration of the secondary education service area office 40 with the different older, graduate level and work experience. (3) to study the source idea of the academic administration of the secondary education service area office 40. The sampling were educational Administrators and educational personals were 195 cases. The research instruments were questionnaires. The reliability was 0.85. Statistics used to analyze the data were frequencies, percentage, mean, standard deviation, Z-test The finding of this research was that (1) have a state of problem academic administration of the secondary education service area office 40 in the 5 hold where the medium level (2) The comparative of state of problem academic administration of the secondary education service area office 40 with the non-different oil. Because the most significant were excepted .05. (3) the source of ideas were more about of Student cases
Description: วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การบริหารการศึกษา
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1670
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-EA-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NIRUTT MOONSEE.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.