Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1985
Title: การออกแบบสื่อแอนิเมชัน 3 มิติเพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงผลเสียจากการเลี้ยงดูบุตรด้วยความเข้มงวดจนเกินไป
Other Titles: The designing of 3d animations to make parents aware of the negative effects of raising their children with excessive rigor
Authors: นรุตม์ กลัดสำเนียง
metadata.dc.contributor.advisor: อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์
Keywords: แอนิเมชั่น -- การผลิต;การสร้างภาพสามมิติ;การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์;เด็ก -- การเลี้ยงดู -- แง่จิตวิทยา
Issue Date: 2565
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้เห็นถึงผลเสียที่เกิดจากการเลี้ยงดูที่เข้มงวดที่ยังคงเป็นปัญหาของเด็กในปัจจุบันและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้น โดยใช้แอนิเมชัน 3 มิติในการนำเสนอเนื่องจากสามารถเข้าถึงได้ทั้งวัยรุ่นและผู้ใหญ่รวมถึงทุกเพศ ซึ่งขั้นตอนและวิธีการศึกษาแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและผลเสียของการเลี้ยงดูที่เข้มงวดจากแหล่งต่าง ๆ ศึกษาเทคนิควิธีการสร้างสื่อแอนิเมชัน แล้วจึงเข้าสู่ ขั้นตอนเตรียมการผลิต ขั้นตอนการผลิตและขั้นตอนหลังการผลิตตามลำดับ และสรุปผลการศึกษาโดยใช้เครื่องมือในการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากผู้ชมทั่วไปจำนวน 30 คน ผ่านแบบสอบถามความพึงพอใจ จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า ‘การออกแบบสื่อแอนิเมชัน 3 มิติเพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงผลเสียจากการเลี้ยงดูบุตรด้วยความเข้มงวดจนเกินไป’ สามารถสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากการเลี้ยงดูบุตรที่เข้มงวดเกินไปได้ในเกณฑ์ดี และผู้ชมมีความชื่นชอบในการใช้สีและแสงจากภาพยนตร์ยุค 90 แนวครอบครัวของ Chris Columbus ที่ส่งเสริมอารมณ์ความรู้สึกของผลงานแอนิเมชัน
metadata.dc.description.other-abstract: The aim of this study was to raise parents’ awareness of the negative effects of strict parenting on children, which was a persistent problem, using a 3D animation in the presentation since a 3D animation could be accessible to both teenagers and adults, regardless of gender. The study procedures and methods were divided into 5 steps, namely: studying the causes and effects of strict parenting from various sources, studying techniques on how to create animated media, planning the entire 3D production (the pre-production stage), producing the 3D animation (the production stage), and polishing and editing the created 3D animation (post-production stage), respectively. After the 3D animation was created, it had been shown to 30 audiences who were asked to complete a satisfaction questionnaire. Data collected from the audience were analyzed, and the statistics used in the analysis included mean and standard deviation. From the study results, it can be concluded that the developed 3D animation could potentially build understanding and awareness of the problems caused by overly strict parenting. And the audiences loved the use of colors and light from Chris Columbus' family-style 90s films which could evoke the emotions of the animatio
Description: วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: คอมพิวเตอร์อาร์ต
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1985
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NARUT KLADSAMNEANG.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.