Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1988
Title: การออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมความฉลาดในการแก้ไขปัญหา
Other Titles: 3D animation design to promote adversity quotient
Authors: กัญญาณัฐ เอกศิลป์
metadata.dc.contributor.advisor: วรรณพร ชูจิตารมย์
Keywords: แอนิเมชั่น -- การผลิต;การสร้างภาพสามมิติ;การแก้ไขปัญหา;ความฉลาดทางอารมณ์
Issue Date: 2565
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับความฉลาดในการแก้ไขปัญหาและออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมความฉลาดในการแก้ปัญหา ขั้นตอนการสร้างแอนิเมชัน 3 มิติ เทคนิคการใช้สีตรงกันข้ามเยื้อง พร้อมกับสีที่ช่วยเพิ่มสมาธิให้แก่ผู้รับชม นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อของจิตวิญญาณนางไม้และจิตวิญญาณสัตว์ จากนั้นก็ได้สร้างสรรค์ผลงานแอนิเมชัน 3 มิติ เรื่องแอปเปิ้ลของแมรี่ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ได้รับชมและทำการประเมินแบบสอบถาม โดยกลุ่มป้าหมายคือผู้ที่มีความสนใจในการพัฒนาตัวเองหรือแอนิเมชัน 3 มิติ จากแบบประเมินผู้วิจัยสรุปได้ว่า ผู้รับชมรับรู้ถึงความฉลาดในการแก้ปัญหาได้ดี และเทคนิคพร้อมดนตรีประกอบที่ใช้ทำให้ผู้รับชมสามารถมีสมาธิกับแอนิเมชันได้ดีมาก โดยที่จากการศึกษา ผู้วิจัยพบว่าความพยายามเป็นสิ่งสาคัญสำหรับการพัฒนาความฉลาดในการแก้ไขปัญหา ดังนั้นจึงใช้เป็นแกนหลักของเนื้อหาในแอนิเมชัน 3 มิตินี้
metadata.dc.description.other-abstract: The objectives of the study of 3D animation design to promote the adversity quotient (AQ) were to study the adversity quotient and to design 3D animation for promoting the adversity quotient (AQ). In addition, the researcher studies the technique for improving concentration by using color and split complementary colors for the audiences to focus easily. The beliefs of animal spirits and dryads were used for the design of main characters and the creation of a 3D animation “The Apple of Mary.” The 30 samples who were interested in 3D animation or self-improvement watched the 3D animation. Then, they complete the questionnaire. In terms of storytelling, the results are great. The audiences were able to know about the Adversity Quotient. Techniques of colors and audios could draw the audience’s attention to concentrate on the animation excellently. The researcher has found that endeavors are the most significant skills for increasing the Adversity Quotient.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2565
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: คอมพิวเตอร์อาร์ต
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1988
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KANYANUT AKESIN.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.