Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2568
Title: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การประเมินผลนโยบายของกระทรวงการคลังในโครงการ คนละครึ่ง ที่มีต่อความพึงพอใจของประชาชน : กรณีศึกษา กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล |
Other Titles: | Evaluation of the Ministry of Finance’s policy on “half-paid” project on public satisfaction: case studies in Bangkok and the surrounding area |
Authors: | เปรมณัช โภชนสมบูรณ์ |
Keywords: | นโยบายของรัฐ -- ไทย -- การประเมินผล;นโยบายของรัฐ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- ไทย;การบริหารรัฐกิจ;โครงการคนละครึ่ง;ไทย -- นโยบายเศรษฐกิจ |
Issue Date: | 2566 |
Publisher: | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มุ่งศึกษาข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ทราบว่าสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นมีความสัมพันธ์กัน อย่างไร โดยการพรรณนาข้อมูลตามปรากฏการณ์ร่วมด้วยเพื่อแสวงหาหรือให้ได้มาซึ่งข้อค้นพบ วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อนโยบายของกระทรวงการคลัง ในโครงการ “คนละครึ่ง” 2) เพื่อประเมินผลนโยบายของกระทรวงการคลัง ด้านผลสัมฤทธิ์ ใน โครงการ “คนละครึ่ง” 3) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคของโครงการ “คนละครึ่ง” ของภาครัฐ ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนและร้านค้ารายย่อยต่างๆ ต่างพึงพอใจต่อโครงการ “คนละ ครึ่ง” เพราะประชาชนได้ราคาสินค้าที่ถูกลงและร้านค้าก็ได้กำไรมากขึ้น 2) โครงการคนละครึ่งเป็น โครงการที่ดี ที่สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยใช้การบริหารงานแบบหลักการ 3M 3) โครงการคนละครึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องมาถึง 4 เฟส แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของโครงการ ดังกล่าว 4) โครงการคนละครึ่งเป็นโครงการที่เกิดขึ้นช่วง Covid-19 และเป็นโครงการที่ตอบสนองต่อ ประชาชนได้เป็นอย่างดี 5) ปัญหาอุปสรรคที่พบเรื่องความไม่เท่าเทียมประชาชนที่ได้สิทธิ์ส่วนใหญ่จะ เป็นคนที่ใช้เครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัย ทำให้กลุ่มคนที่มีรายได้น้อยและไม่มีเครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัย จึงไม่สามารถเข้าถึงสิทธิ์ในโครงการดังกล่าวและเกิดความไม่เท่าเทียมขึ้นในสังคม และสิ่งที่สะท้อน กลับมาของร้านค้ารายย่อยต่างๆที่ใช้สิทธิ์โครงการคนละครึ่งก็ไม่พึงพอใจต่อการเก็บภาษีย้อนหลังของรัฐบาล |
metadata.dc.description.other-abstract: | In this research, a mixed - method research between quantitative and qualitative researches that aims to study the fact about the events that occur in order to know how things are related by describing information based on phenomena in order to seek or obtain findings. The research objectives are: 1) To study people's satisfaction with the policy of the Ministry of Finance in the project that was half paid by the government; 2) To evaluate the policy of the Ministry of Finance on the achievement of the half paid by the government; 3) To study the obstacles of the half paid by the government project of the public sector. The results of the research showed that 1) people and small shops are satisfied with the half paid by the government project because people get lower prices and shops get more profit; 2)Each half-paid project is a good project that can stimulate the economy over a period of time using the 3 M management model; 3) Each half- paid project is a continuous comprising of four phases, i. e. , demonstrating the success of such a project; 4) Each half-paid project is a project that occurred during the COVID-19 pandemic and is a project that responds well to the people; 5) Barriers to inequality, most eligible citizens are people who use modern communication tools. As a result, low-income groups without modern communication tools do not have access to the right to the scheme and inequality has arisen in society, and this is reflected in the return of small shops that use the scheme and half are dissatisfied with the government's retrospective taxation |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2568 |
metadata.dc.type: | Other |
Appears in Collections: | CSI-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PRAMEMANUT POCHANASOMBOON.pdf | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.