Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2659
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย เล็กเจริญ | - |
dc.contributor.author | ธารทิพย์ บุตรี | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-15T06:19:09Z | - |
dc.date.available | 2025-01-15T06:19:09Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2659 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สท.ม. (เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความตั้งใจซื้อวัตถุมงคลจากร้านเจ้าหญิงทาโรต์ผ่านแอปพลิเคชันติ๊กต็อกใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ 2) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อวัตถุ มงคลจากร้านเจ้าหญิงทาโรต์ผ่านแอปพลิเคชันติ๊กต็อกในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รูปแบบ การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เคยซื้อวัตถุมงคลจากร้านเจ้าหญิงทาโรต์ผ่านแอปพลิเคชันติ๊กต็อก และพักอาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จ านวน 280 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และโมเดลสมการ โครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผู้ทรงอิทธิพลบนโซเชียลมีเดีย 2) ด้านภาพลักษณ์ 3) ด้านอัตมโนทัศน์ และ 4) ด้านความ ตั้งใจซื้อ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากค่า CMIN/df = 1.40, ค่า df = 137, ค่า GFI = 0.94, ค่า AGFI = 0.90, ค่า SRMR = 0.03, ค่า RMSEA = 0.04 และค่าสัมประสิทธิ์การ พยากรณ์ = 0.90 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจซื้อวัตถุมงคลจากร้านเจ้าหญิงทาโรต์บนแอปพลิเคชันติ๊กต็อก ได้ร้อยละ 90 พบว่า ด้านอัตมโนทัศน์เป็น ปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อความตั้งใจซื้อ ซึ่งผู้ประกอบธุรกิจขายวัตถุมงคลควรคำนึงถึงการออกแบบสินค้าที่สอดคล้องกับบุคลิกภาพ รสนิยม และความเชื่อของผู้บริโภคเพื่อให้เกิดความตั้งใจซื้อต่อไปในอนาคต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | การซื้อสินค้า | en_US |
dc.title | ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อวัตถุมงคลจากร้านเจ้าหญิงทาโรต์บนแอปพลิเคชันติ๊กต็อกของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล | en_US |
dc.title.alternative | Causal factors influencing purchase intention for sacred objects from Jaoyingtarot shop on Tiktok application of consumers in Bangkok and its vicinity | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were to 1) develop and validate a causal of relationship model of purchase Intention for amulet from Jaoyingtarot shop via Tiktok application in Bangkok and its vicinity; and 2) study causal factors influencing purchase intention for amulet from Jaoyingtarot shop via Tiktok application in Bangkok and its vicinity. This study was a quantitative research. The sample was people who have bought amulet from Jaoyingtarot shop on Tiktok application and live in Bangkok and its vicinity 280 people by convenience sampling. The tools used in the research was online questionnaires. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, confirmatory factor analysis and structural equation model. The results of this research were the development of the causal relationship models consisted of 4 components are 1) social media influencer 2) image 3) self concept and 4) purchase intention and the model is consistent with the empirical data to a great extent. The statistic shows CMIN/df = 1.40, df = 137, GFI = 0.94, AGFI = 0.90, SRMR = 0.03, and RMSEA = 0.04. The final is predictive coefficient of 0.90, indicating that the variables in the model can explain the variance of the purchase Intention on Jaoyingtarot shop by 90 percent. It was found that self-concept have the most direct influence on purchase intention. Entrepreneurs who sell sacred objects should consider product design that is in line with the personality, tastes and believe of consumers in order to create future purchase intentions. | en_US |
dc.description.degree-name | สารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | เทคโนโลยีสื่อสังคม | en_US |
Appears in Collections: | ICT-SMT-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
THANTIP BUTTREE.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.