Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2672
Title: การออกแบบแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อสะท้อนปัญหาความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของวัยรุ่น
Other Titles: 2D animation design to reflect the problem of youth ignorance
Authors: นรินทร์ธัช ชูรัชพบธนธร
metadata.dc.contributor.advisor: วัฒนะ จูฑะวิภาต
Keywords: ภาพยนตร์สามมิติ -- การออกแบบ -- วิจัย;วัยรุ่น -- การดำเนินชีวิต -- วิจัย;วัยรุ่น -- การจัดการอารมณ์;การสร้างภาพเคลื่อนไหวในคอมพิวเตอร์
Issue Date: 2566
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ปัญหาความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของวัยรุ่น โดยเน้นความสําคัญของความชัดเจน เนื่องจากปัญหานี้ยังคงมีอยู่ในสังคมร่วมสมัยและคาดว่าจะเพิ่มมากขึ้น และมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความตระหนักรู้และการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในหมู่วัยรุ่นและบุคคลทั่วไป การศึกษานี้ใช้ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติในการนําเสนอเนื่องจากเข้าถึงได้ง่าย กระบวนการวิจัยแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ รวบรวมข้อมูลสาเหตุและผลที่ตามมาของพฤติกรรม วัยรุ่นที่เป็นปัญหาและความต้องการของลูกวัยรุ่นที่มีต่อพ่อแม่ ศึกษาเทคนิคการสร้างแอนิเมชัน และดําเนินการผ่านขั้นตอนก่อนการผลิต การผลิต และหลังการผลิตตามลําดับ การศึกษาสรุปโดยใช้เครื่องมือในการคํานวณค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากความคิดเห็นที่ได้รับจากผู้ชมทั่วไป 30 คนผ่านการสอบถามสํารวจความพึงพอใจจากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า “การออกแบบสื่อแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อสะท้อนปัญหา ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของวัยรุ่น” สามารถสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากความ รู้เท่าไม่ถึงการณ์มีแนวโน้มจะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกแก้ผู้ชมได้ในเกณฑ์ดี และผู้ชมมีความชื่นชอบในแนวคิดที่นํามาเสนอ
metadata.dc.description.other-abstract: This study aims to explore strategies for addressing the issue of insufficient knowledge among teenagers, emphasizing the importance of clarity, as this problem persists in contemporary society and is expected to increase. The objective is to promote awareness and positive change among teenagers and the general population. The study utilizes 2D animations for presentation, as they are easily accessible. The research process is divided into five steps: gathering information on the causes and consequences of problematic teenage behaviors and the needs of parents with teenagers, studying techniques for creating animations, and proceeding through the pre- production, production, and post-production phases in sequence. The study concludes by using tools to calculate averages and standard deviations from feedback obtained from 30 general viewers through satisfaction surveys. From the results of the study, it can be concluded that “Designing 2D animation media to reflect the problem of youth ignorance” can create understanding and awareness of problems caused by ignorance. It is likely to cause positive changes and solve the problem for viewers favorably. And the audience liked the ideas presented.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: คอมพิวเตอร์อาร์ต
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2672
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NARINTACH CHURATCHAPOBTANATORN.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.