Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2685
Title: การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเชิงแนวคิดเรื่องพื้นที่กับความทรงจำในหลายมิติด้วยเทคนิคภาพสามมิติ
Other Titles: The art with the concept of space and memories in diverse dimensions
Authors: ธนทัต โอภาส
metadata.dc.contributor.advisor: วัฒนะ จูฑะวิภาต
Keywords: แอนิเมชั่น -- การผลิต -- วิจัย;ภาพสามมิติ -- วิจัย;ความทรงจำ;พื้นที่;จินตภาพ
Issue Date: 2566
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาอัตวิสัยของคําว่าบ้านโดยมีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาความหมายของคําว่า “บ้าน” ในหลายความหมายผ่านมิติของความทรงจํา 2) เพื่อสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเชิงแนวคิดด้วยเทคนิคแอนิเมชัน และ 3) เพื่อประเมินผลสื่อกระบวนจินตภาพคอมพิวเตอร์ มีแนวคิดในการ นําเสนอผลงานคือผู้วิจัยสนใจประเด็นความเป็นพื้นที่โดยเลือกเจาะจงเป็นพื้นที่ของบ้านผ่านมิติ ของความทรงจํา โดยนําเอาความทรงจําและประสบการณ์ของบ้านในอดีต ที่ถูกเก็บและจดจําเอาไว้กลายเป็นเสมือนชุดสําเนาของความทรงจํา โดยผู้วิจัยเลือกเอาความสําคัญนี้มานําเสนอด้วย เครื่องมือวิจัยคือกระบวนจินตภาพคอมพิวเตอร์ หรือภาพอันสมบูรณ์ภายใต้กระบวนการคอมพิวเตอร์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างผู้สนใจเรื่องการออกแบบสามมิติและศิลปะเชิงแนวคิด จํานวน 47 คน ชมผลงานและประเมินแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า 1) การออกแบบฉากได้รับความพึงพอใจจากผู้ชมมากที่สุด รองลงมาคือ การออกแบบตัวละคร 2) การออกแบบเสียงดนตรีประกอบสร้างสุนทรียะและความพึงพอใจต่อผู้ชมได้มาก 3) เนื้อหาเรื่องพื้นที่บ้านกับความทรงจําภายในผลงานมีความซับซ้อนและไม่ได้ถูกนําเสนอออกไปอย่างชัดเจนมากพอส่งผลให้ผู้ชมเข้าใจเนื้อหาภาพรวมได้น้อยกว่าส่วนอื่น
metadata.dc.description.other-abstract: This research explores the subjective meaning of the word "home" with the following objectives: 1) to investigate the multifaceted meaning of the word "home" in memories, 2) to create a concept art piece utilizing animation techniques, and 3) to evaluate the computer imagery process as a medium. The researcher aims to present the artwork by delving into the concept of space, specifically focusing on the realm of the house through the dimension of memory. Memories and experiences of past homes, stored and remembered, are depicted as copies of memories. The researcher emphasizes the significance of this aspect by employing a research tool which is the computer imagination process or the generation of complete images through computer processing. A sample group of 47 individuals interested in 3D design and concept art viewed the artwork and participated in the evaluation through a questionnaire. The research findings indicate that: 1) the set design received the highest satisfaction from the audience, followed by character design; 2) sound design and music significantly contributed to the aesthetic appeal and satisfaction of the audience; and 3) the depiction of home space and memories within the artwork was perceived as complex and insufficiently elucidated, resulting in limited audience comprehension of the overall content.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: คอมพิวเตอร์อาร์ต
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2685
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TANATUT OPAS.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.