Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2687
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณพร ชูจิตารมย์ | - |
dc.contributor.author | เอวารินทร์ ไชยบุตร | - |
dc.date.accessioned | 2025-01-16T02:57:06Z | - |
dc.date.available | 2025-01-16T02:57:06Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2687 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ โดยนําเสนอภาวะซึมเศร้าในช่วงสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19 ในรูปแบบแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมความ เข้าใจต่อผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าในเหตุการณ์โรคระบาดโควิด-19 ซึ่งจากการศึกษาเป็นปัญหาที่เจอ ในช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ที่เป็นกลุ่มอายุที่มีการฆ่าตัวตายสูงสุดในสถานการณ์โรคโควิด-19 และ เนื่องจากภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตอย่างหนึ่งที่เป็นปัญหาอย่างมากในสังคมไทยเพราะมักจะถูกเข้าใจผิดและมองว่าเป็นอารมณ์ซึมเศร้า ทําให้เป็นปัญหาสุขภาพจิตที่ได้รับการแก้ไข จํานวนไม่มากนัก การเข้าใจเรื่องโรคซึมเศร้านั้นจึงสําคัญ เนื่องจากมีผลต่อการรักษาโรค โดยเนื้อหาแอนิเมชันนี้จะเป็นการผสมองค์ประกอบเนื้อหาเกี่ยวกับ ปัญหาภาวะซึมเศร้าในสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19 สาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดปัญหา สาเหตุสําคัญที่ส่งผลกระทบ ปัญหาที่ยาก ต่อการฟื้นฟูสุขภาพจิต ปัจจัยเงื่อนไขที่มีอิทธิพล อาการข้อสํารวจการวินิจฉัยโรคซึมเศร้าจากเกณฑ์ทางการแพทย์ มีเนื้อหาความยาวทั้งหมดประมาณ 7 นาที มีขั้นตอนการศึกษาเริ่มต้นด้วยการศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จากนั้นศึกษาขั้นตอนการดําเนินการผลิตแอนิเมชัน โดยใช้ซอฟต์แวร์โปรแกรมเบลนเดอร์ (Blender) และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตวิทยาเพื่อความถูกต้องและเหมาะสมต่อการเผยแพร่ แล้วจึงนําข้อมูลทั้งหมดมาประกอบการสร้างสื่อแอนิเมชัน 3 มิติ เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ให้กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นบุคคลทั่วไป จํานวน 30 คนรับชม จากนั้นทําประเมินผ่านแบบสอบถามออนไลน์ พบว่าผลการประเมินการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมให้เข้าใจผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าในช่วงวัยเข้าสู่การเริ่มทํางานต่อสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19 มีคะแนนด้านเนื้อเรื่อง ประโยชน์และด้านเทคนิคอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สามมิติ -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | แอนิเมชั่น -- การออกแบบ | en_US |
dc.subject | ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | ความซึมเศร้าในวัยสูงอายุ | en_US |
dc.subject | โรคโควิด-19 -- แง่สังคม | en_US |
dc.subject | การสร้างภาพเคลื่อนไหวในคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.title | การออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจบุคคลที่ประสบกับภาวะซึมเศร้าในช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภายใต้บริบทของการระบาดของโรคโควิด-19 | en_US |
dc.title.alternative | The designing of 3d animation to enhance understanding for individuals experiencing depression in early adulthood amidst the COVID-19 pandemic context | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aims to study the design of 3D animation presenting depression during the COVID-19 pandemic to promote understanding among individuals experiencing depression in this context. Depression is a significant issue among young adults, who are the age group with the highest suicide rates during the COVID-19 pandemic. Moreover, depression is a prevalent mental health problem in Thai society because it is often misunderstood as mere sadness, resulting in inadequate treatment. Understanding depression is crucial for effective treatment. This animation blends content related to depression during the COVID-19 pandemic, highlighting its causes, impacts, challenges in recovery, influential factors, diagnostic criteria, and it lasts approximately 7 minutes. The study begins with data collection, followed by animation production using Blender software, and consultation with psychology experts for accuracy and appropriateness. The animation was then distributed online to a sample group of 30 general individuals for viewing and subsequently evaluated through an online questionnaire. The results indicate that the designed 3D animation effectively enhances understanding of depression among young adults amidst the COVID-19 pandemic, scoring highly in content, utility, and technical aspects. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
EVALYN CHAIBUTH.pdf | 2.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.