Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/288
Title: การปรับตัวและการสร้างนวัตกรรมด้านกลยุทธ์ของธุรกิจสื่อโทรทัศน์ในยุคทีวีดิจิตอล
Other Titles: The adaptation and innovation strategies of television business in the age of digital TV
Authors: สุภัสสร หาญลายวง
metadata.dc.contributor.advisor: เฉลิมพร เย็นเยือก
Keywords: โทรทัศน์ -- การตลาด;โทรทัศน์ดิจิทัล -- การตลาด;การสื่อสารด้วยระบบดิจิทัล
Issue Date: 2562
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและอธิบายถึงสภาพการปรับตัวและการเปรียบเทียบระหว่างอดีตกับปัจจุบันของอุตสาหกรรมโทรทัศน์ 2) ศึกษาพฤติกรรมการรับชมโทรทัศน์ของประชากรไทยในยุคทีวีดิจิตอล 3)เพื่อนา เสนอนวัตกรรมเชิงกลยุทธ์การบริหารงานของธุรกิจของธุรกิจสื่อโทรทัศน์ในยุคทีวีดิจิตอลใช้วิธีทางการวิจัยแบบสารวจ (Survey Research) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจา นวน 400 ตัวอย่างแล้ววิเคราะห์ผลด้วยสถิติพรรณนาประกอบการนาเสนอผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 21 - 30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพนักเรียน/นักศึกษา รายได้ต่า กว่า 15,000 บาท สถานภาพโสด และมี ลักษณะครอบครัวเป็นครอบครัวเดี่ยว ส่วนพฤติกรรมการรับชมจะชมละครซีเรียลในช่วงเวลา19.01 - 22.00 น. รวมเวลา 1 - 3 ชั่วโมงต่อวัน วัตถุประสงค์การชมเพื่อความบันเทิง โดยจะชมสลับไปมาระหว่างชมสดตามตารางออกอากาศและแบบย้อนหลังขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ส่วนด้านสาระเนื้อหาของรายการต่อความพึงพอใจในการเลือกรับชม พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือการสอดแทรกความรู้รอบตัว การสร้างความคิด โอกาสในการคิดค้นสิ่งต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ และเป็นเหตุเป็นผล การเสริมสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นให้เกิดความกล้าคิดกล้าทำกล้าแสดงออก และกล้าแตกต่าง ส่วนผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้าน อายุอาชีพ รายได้ และ ลักษณะทางครอบครัวที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการเลือกรับชมรายการโทรทัศน์ต่างกัน ดังนั้น ธุรกิจทีวีดิจิตอลจึงควรสร้างสรรค์รายการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ชมที่มีความแตกต่างให้มากที่สุดเพื่อให้ส่งผลสำเร็จต่อการดำเนินธุรกิจในยุคทีวีดิจิตอล
metadata.dc.description.other-abstract: This study aimed to 1) investigate an adaptation of the television industry in the present and past, 2) examine Thai people’s television watching behaviors in the digital TV era, and 3) introduce the strategic invention for the digital television business administration. This study was a survey research which employed questionnaire to collect data from 400 samples. The data were descriptively analyzed. It was found that most of the questionnaire respondents were female, age between 21 – 30 years old. Most of them were university students with average income lower than 15,000 baht per month. In addition, most of them were single living in a single family. Considering TV watching behaviors, most of the samples watched soap opera programs during 7.01 – 10.00 p.m. or 1 – 3 hours a day with the purpose of leisure and entertainment. Whether they watched either scheduled soap opera program or rerun program depended upon situations. In terms of the satisfaction towards the content of TV programs, it was found that the overall satisfaction was at a high level. Most of them were satisfied with the insertion of useful knowledge and information followed by the promotion of inventive creation, and the encouragement to provide inspiration to start doing something new or thinking out of the box with confidence. From the assumption testing, it was found that the factors related to age, professions, income, and family background had an influence on the sample’s behaviors toward the selection of TV programs. The digital TV business should, therefore, create programs that best served watchers’ needs which would lead to the success in TV business
Description: วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริการธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562
metadata.dc.description.degree-name: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: บริหารธุรกิจ
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/288
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:BA-BA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supassorn Harnlamyuang.pdf5.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.