Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/293
Title: | การศึกษาการใช้โซเชียลมีเดียกับเศรษฐกิจแบ่งปันในประเทศไทย |
Other Titles: | A study of social media tools and sharing economy in Thailand |
Authors: | อัญชลี เอียดเจริญ |
metadata.dc.contributor.advisor: | ธันย์พัทธ์ ใคร้วานิช |
Keywords: | เครือข่ายสังคมออนไลน์;เศรษฐกิจแนวใหม่;การพัฒนาเศรษฐกิจ |
Issue Date: | 2562 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยเรื่องการศึกษาการใช้โซเชียลมีเดียกับเศรษฐกิจแบ่งปันในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้โซเชียลมีเดียกับเศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) ในประเทศไทย ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non - Probability Sampling) และเก็บข้อมูลด้วย วิธีการเลือกตัวอย่างตามสะดวก (Convenience Selection Method) โดยเก็บกลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 737 ชุด โดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ Correlation ในการทดสอบสมมติฐาน พบว่าจำนวนเงินที่ออม (ต่อเดือน) สัมพันธ์กับ Airbnb, Spinlister, DogVacay และ Task Rabbit โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .089, .088, .161, .151 ตามลำดับ ปัจจัยด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์ Twitter สัมพันธ์กับ Spotify, Airbnb, Spinlist, DogVacayg และ TaskRabbitโดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .242, .174, .112, .137 และ .138 ตามลำดับ IG สัมพันธ์กับ Spotify และ Spinlist โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .203 และ .076 ตามลำดับ Youtube สัมพันธ์กับ Spotify และ Airbnb โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สห สัมพันธ์ (r) เท่ากับ .129 และ .110 ส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ค่อนข้างตํ่า โดยมีข้อเสนอแนะว่าธุรกิจต้องมีการปรับตัวอย่างมากเพราะจะมีผู้เสนอให้บริการมากขึ้นทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่ง่ายและสะดวก การพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องให้มีความครอบคลุมและสอดคล้องจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องพัฒนาอย่างยิ่งในระยะต่อไป |
metadata.dc.description.other-abstract: | This objective of research is to study an application using the sharing economy in Thailand using a non-probability sampling method. The data were gathered via online questionnaires for convenience. The sample was comprised of 737 participants, and the data were analyzed through correlation analysis to test the hypotheses. The findings indicated that the amount of savings (per month) were associated with Airbnb, Spinlister, DogVacay, and TaskRabbit with the correlation coefficient (r) equal to .089, .088, .161, and .151, respectively. Factors for information recognition via the social media Twitter were associated with Spotify, Airbnb, Spinlist, DogVacayg, and Task Rabbit with correlation coefficient (r) equal to .242, .174, .112, .137, and .138 respectively. IG relates to Spotify and Spinlist with correlation coefficient (r) equal to .203 and .076 respectively and Youtube were related to Spotify and Airbnb with the correlation coefficient (r) equal to .129 and .110. These results may indicate that most have a relatively low relationship. This suggests that the business model needs much adjustment because there will be more people offering services and all have equal opportunities through social media that is easy and convenient. So, developing relevant laws to be comprehensive and consistent is therefore necessary. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐกิจดิจิทัล)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 |
metadata.dc.description.degree-name: | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | เศรษฐกิจดิจิทัล |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/293 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EC-DE-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Aunchalee Iedjaroen.pdf | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.