Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/385
Title: | การสร้างการรับรู้ของสังคมผ่านการเพิ่มมูลค่าของสิ่งเหลือใช้ |
Other Titles: | Social awareness through upcycled plastic waste |
Authors: | ณัฏฐ์กานต์ ลี้อัครภูมิ |
metadata.dc.contributor.advisor: | สุวิทย์ รัตนานันท์ |
Keywords: | วัสดุเหลือใช้ -- การออกแบบ;วัสดุเหลือใช้ -- การใช้ประโยชน์;การเพิ่มมูลค่า |
Issue Date: | 2562 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | ปัจจุบันปริมาณขยะพลาสติกมีจานวนมาก และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คนส่วนใหญ่ทิ้งขยะเหล่านั้นโดยที่ไม่เห็นถึงประโยชน์ใดๆ บางส่วนเผาทิ้ง บางส่วนเก็บขาย แต่เนื่องด้วยขยะพลาสติกที่เหลือทิ้งมีจานวนมาก จึงทาให้เกิดความสนใจ และได้ทาการทดลองเกี่ยวกับพลาสติกเหล่านั้น โดยศึกษาข้อจากัดของวัสดุและพลาสติกชนิดต่างๆ เช่น HDPE PP PE เป็นต้น และนามาทดลองสร้างสรรค์เป็นผลงานที่ช่วยเพิ่มมูลค่าให้ขยะเหล่านี้ การศึกษานี้เก็บข้อมูลจากการสารวจชุมชน เพื่อสังเกตพฤติกรรมการเก็บหรือกาจัดพลาสติกของแต่ละครัวเรือน ผลการสารวจพบว่า แต่ละครัวเรือนขายขยะได้ในราคากิโลกรัมละ 7 บาท ซึ่งเป็นจานวนเงินที่น้อยเมื่อเทียบกับจานวนขยะที่มาก จากการทดลองสร้างสรรค์ผลงานจากขยะพลาสติกมาทาเป็นเครื่องประดับและสิ่งของต่างๆและการรับทราบปัญหาทั้งหมดในข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความคิดที่จะสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับจากขยะพลาสติกที่สามารถนาไปขายได้ อันเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ขยะพลาสติกแทนที่จะนาไปขายในรูปแบบของขยะ และทาให้เกิดโครงการ Up upcycle (อัพ อัพไซเคิล) ซึ่งเป็นโครงการที่สร้างจิตสานึกด้านการจัดการขยะที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ขยะได้ โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการจัดการและสร้างสรรค์ผลงานจากขยะพลาสติก โครงการจะมีรถออกตระเวนเก็บขยะจากแต่ละครัวเรือนในชุมชนตามเวลา โดยชาวบ้านสามารถตรวจสอบเวลาและตาแหน่งของรถตลอดจนข้อมูลต่างๆ ได้ทางแอพพลิเคชั่น Up ขยะพลาสติกที่เก็บได้จะถูกนามาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่น จากนั้นพลาสติกที่ถูกปั่นจะถูกวางไว้ตรงกลางระหว่างแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์และถูกรีดด้วยเตารีดประมาณ 3-5 นาที จนหลอมติดกัน จากนั้นใช้ประกอบเข้ากับชิ้นส่วนโลหะที่ทางโครงการจัดเตรียมไว้เพื่อเพิ่มความแข็งแรง จนกลายเป็นผลงานเครื่องประดับ โครงการจะนารายได้จากการจาหน่ายเครื่องประดับไปช่วยพัฒนาชุมชน ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้จากการจาหน่ายเครื่องประดับดังกล่าว ทั้งนี้โครงการและแอพพลิเคชั่น เป็นเพียงตัวอย่างต้นแบบเท่านั้น ผลจากการศึกษาสามารถนาไปพัฒนาต่อยอดให้เกิดการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพที่สามารถส่งเสริมอาชีพให้กับคนในชุมชนได้ต่อไป |
metadata.dc.description.other-abstract: | At present, there is a continuous increase in plastic waste. Plastic waste becomes useless garbage. Some is burnt and some is sold. However, due to a huge amount of plastic waste, the researcher was interested in exploring types of plastic, e.g. HDPE, PP, PE, etc. as well as their limitations. The researcher then experimented with different types of plastic waste in fashion accessories to add value to plastic waste. This research was based on a survey of the waste management of each house in a community. According to the survey, it was found that each family sold plastic waste and earned 7 THB/ kilogram. The price was too low compared with the amount of plastic waste sold. The survey and the experiment led to the initiation of the project entitled “Up upcycle” in which plastic waste would be processed and made into fashion accessories which could be sold and add value to plastic waste. This project aimed to add value to plastic waste and raise public awareness of waste management. The project staff, by the project truck, would visit each house to collect plastic waste. People in the community could check the arrival time and the location of the truck as well as other information on the mobile application named ‘Up’. The collected plastic waste then would be blended with a blender. The blended plastic would be placed in the middle layer between two aluminum foils and ironed for 3-5 minutes until melt. Finally, the processed plastic would be adhered to the metal parts provided by the project to ensure the strength and durability of the product. The revenue of the project would be spent on the development of the community. The project would promote employment and boost the community income. However, “Up upcycle” is a pilot project. The research recommended that it be furthered to promote waste management that could contribute to job promotion. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การออกแบบ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/385 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | Art-AD-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natthakan Leeaukkaraphum.pdf | 3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.