Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/418
Title: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย โครงการทดสอบสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดของนักศึกษาสถาบันการบิน มหาวิทยาลัยรังสิต
Other Titles: Project of maximum oxygen consumption ability test of Rangsit University Aviation Institute Students
Authors: ศุภกฤต อริยะปรีชา, คธาทิพย์ กุญชร ณ อยุธยา พลอากาศโท
Keywords: สมรรถภาพทางกาย -- การทดสอบ;นักศึกษาสถาบันการบิน;อุณหภูมิกาย -- การควบคุม
Issue Date: 2561
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบค่าสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดใน นักศึกษาสถาบันการบิน มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อนและหลังการฝึกสมรรถภาพทางกายเป็นเวลา 2 เดือน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชาย - หญิง ชั้นปี ที่หนึ่งและสอง จำนวน 36 คน ทำการปั่นจักรยานวัดงาน ผ่านเครื่องวิเคราะห์ก๊าซที่ความหนักของงานร้อยละ 85 - 90 ของความสามารถสูงสุดของอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการเพิ่มความต้านทานของจักรยานขั้น 25 วัตต์ ทุกนาที และทำการบันทึกปริมาณอากาศที่หายใจ 1 นาที อัตราการใช้ออกซิเจน อัตราการขับคาร์บอนไดออกไซด์ สัดส่วนการใช้ออกซิเจนและขับคาร์บอนไดออกไซด์ และอัตราการเต้นของหัวใจรวมถึงค่าออกซิเจนเมแทบอลิซึม และประมาณค่าการใช้ออกซิเจนสูงสุดโดยสมการเส้นตรงของความสัมพันธ์ระหว่างค่าอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการใช้ออกซิเจนผลการศึกษาพบว่าค่าอัตราการเผาผลาญออกซิเจนเพื่อสร้างพลังงาน (MET) และอัตราการเต้นของหัวใจมีค่าลดลงที่ความต้านทาน 125 วัตต์ (p<0.05) แสดงถึงประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตามค่าอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุดก่อนและหลังการฝึ กไม่มีความแตกต่างกัน การให้ความสำคัญกับโปรแกรมการฝึกซ้อม การออกแบบฝึกแบบมุ่งเน้นสมรรถภาพระบบหัวใจไหลเวียนเลือดและความทนทานจะส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของค่าความสามารถการใช้ออกซิเจนสูงสุด
metadata.dc.description.other-abstract: The study aimed at comparison of the maximum oxygen consumption (VO2max) of Aviation Institute student of Rangsit University before and after getting physical training for two months. Subjects was thirty-six male and female first and second-year students. They rided a bicycle with applied the gas analyzer equipment at their face and chest. The intensity of workload set at 85-90% of maximum heart rate. The incremental resistance applied to the bicycle was set at 25 watts every minute. The data registered during the test were minute ventilation, oxygen uptake (VO2), carbon dioxide excretion, respiratory exchange ratio, heart rate, and the calculation of oxygen metabolism (MET). The VO2max was extrapolated through linear regression equation between HR –VO2. The results showed that MET and heart rate decreased at the same workload resistance reveal the efficiency of energy production (p<0.05). However, VO2max before and after physical training program of two months does not change. The importance of the training program, type of training especially the endurance training will promote the increase of maximum oxygen consumption.
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/418
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:TAV-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Air Marshal Supakrit Ariyapreecha.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.