Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/643
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศยานระดับหน่วย และระดับกลาง สำหรับ บ.ข.19/ก (F-16AM/BM) สังกัด ฝูงบิน 403 กองบิน 4 กองทัพอากาศไทย
Other Titles: Factors affecting success in organization and intermediate level aircraft maintenance for f-16 AM/BM of squadron 403, wing 4,Rroyal Thai Air Force
Authors: มนัสชัย ขวัญวงศ์, นาวาอากาศเอก
metadata.dc.contributor.advisor: พัฒน์ พิสิษฐเกษม
Keywords: กองทัพอากาศ -- ไทย;อะไหล่ -- การบำรุงรักษา
Issue Date: 2563
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาค้นคว้าวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความแตกต่างกันของปัจจัยส่วน บุคคลที่มีผลต่อความสาเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศยาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการจัดการ พัสดุอะไหล่ด้านการซ่อมบำรุงอากาศยานกับความสำเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศยาน และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านองค์การกับความสำเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศยาน ประชากรเป็น เจ้าหน้าที่ของกองบิน 4 โดยการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency), ร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ T-test, One-way ANOVA หรือ F-Test และวิธีวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นในภาพรวมต่อปัจจัยการจัดการพัสดุ อะไหล่ด้านการซ่อมบารุงอากาศยาน ปัจจัยด้านองค์การ และความสำเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศ ยานระดับหน่วย และระดับกลาง ในระดับเห็นด้วยมากทั้งหมด สำหรับผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เหล่าทหารที่แตกต่างกันมีผลต่อความสำเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศยานระดับหน่วย และ ระดับกลางที่ต่างกัน ปัจจัยการจัดการพัสดุอะไหล่ด้านการซ่อมบำรุงอากาศยาน (การพยากรณ์และ การจัดการอุปสงค์) และปัจจัยด้านองค์การ (สายการบังคับบัญชา และการจัดการความรู้) มีผลต่อ ความสำเร็จในการซ่อมบำรุงอากาศยานระดับหน่วย และระดับกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05
metadata.dc.description.other-abstract: This research aimed (1) to study the differences in personal factors affecting success of aircraft maintenance; (2) to study the relationship between inventory management factors, spare parts for aircraft maintenance, and success of aircraft maintenance; and (3) to study the relationship between organizational factors and aircraft maintenance success. The population were the officers of the Wing 4 Air Force Base. The data were collected by using questionnaires with 200 samples from purposive sampling. The data analysis consisted of descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation, and inferential statistics comprising T-test, One-way ANOVA or F-Test and multiple regression analysis. The results showed that respondents had an overall view on the factors of spare parts management of aircraft maintenance, factors of organization and success in organization and intermediate level aircraft maintenance at a very agreed level. For the hypothesis testing, it was found that the variety of military corps had different effects on success in organization and intermediate level aircraft maintenance, factors of spare parts management for aircraft maintenance (forecasting and demand management) and factors of organization (chain of command and knowledge management) affecting success in organization and intermediate level aircraft maintenance at the significant level of 0.05.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563
metadata.dc.description.degree-name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การจัดการโลจิสติกส์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/643
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:Grad-ML-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Group Captain Manuschai Khwunwong.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.