Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ สุขสำราญ, จิดาภา ถิรศิริกุล-
dc.contributor.authorสันติ พัฒน์พันธุ์-
dc.date.accessioned2022-03-02T05:08:12Z-
dc.date.available2022-03-02T05:08:12Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/741-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาสังคมที่ทําให้เกิด การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะด้านการมีส่วนร่วม ของประชาสังคม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาชุมชนท่องเที่ยว 2 ชุมชน ได้แก่ เมืองโบราณอู่ทอง และตลาดสามชุกร้อยปีใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากเอกสารจากแหล่งปฐมภูมิและ ทุติยภูมิและการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยใช้คําถามปลายเปิด ผู้ให้ข้อมูลสําคัญ ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ ภาครัฐส่วนกลาง ภาคองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาสังคม จํานวน 6 คน การวิเคราะห์ระดับการมีส่วนร่วมใช้แนวคิดบันไดระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนของ อาร์สไตน์ (Arnstein, 1969) ผลการวิจัยในส่วนของเมืองโบราณอู่ทอง พบว่า มีลักษณะระดับการมีส่วนร่วมในระดับ บันไดขั้นที่ 3 - 5 เป็นหลัก กล่าวคือ ประชาชน ชุมชนในพื้นที่ท่องเที่ยว กลุ่มภาคประชาสังคม ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนเมืองโบราณทวารวดีอู่ทองมีส่วนร่วมอย่างจํากัด เพราะมี ส่วนร่วมในบางเรื่องเท่านั้น การดําเนินการพัฒนาเมืองโบราณอู่ทองส่วนใหญ่ยังขับเคลื่อนโดย หน่วยงานภาครัฐ และองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) อย่างไรก็ตามหน่วยงาน อพท. สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยว ในส่วนของ ตลาดสามชุกร้อยปี พบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคประชาสังคม คือ คณะกรรมการ พัฒนาตลาดสามชุกอยู่ในระดับบันไดขั้นที่ 6 - 8 เป็นหลัก กล่าวคือ ประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุด มีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ และบริหารจัดการพื้นที่ท่องเที่ยวได้ด้วยตนเอง สามารถพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนได้ตรงตามความต้องการที่เกิดจากชุมชนข้อเสนอแนะในการวิจัย คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเข้ามามีส่วนร่วมให้มากขึ้น และควรให้ชุมชนเป็นผู้กําหนดนโยบายในการพัฒนาการท่องเที่ยวตลอดจนบริหารจัดการท่องเที่ยว เพื่อให้นโยบายมีความสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน นอกจากนี้ควรเสริมสร้าง การมีส่วนร่วมในการท่องเที่ยวระหว่างชุมชนกับนักท่องเที่ยว และควรมีการสืบสานถ่ายทอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับชุมชน นักท่องเที่ยวและคนรุ่นหลังต่อไปen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.subjectภูมิปัญญาท้องถิ่นen_US
dc.subjectภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาสังคมในการบริหารการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นen_US
dc.title.alternativeCivil society participation of the cultural tourism management using local wisdomen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research, “Civil Society Participation of the Cultural Tourism Management Using Local Wisdom”, are to study the participation of civil society caused of cultural tourism using local wisdom and to develop suggestions on civil society participation. This research is a qualitative research with 2 case studies of U-Thong ancient city and 100 years old Sam Chuk market. Research methodology used primary and secondary data collecting through depth interview; open-end questions, and the 3 major informants are central government office, local administration office and civil society organization, total of 6. Analysis of levels of participation used ladder levels of participation of Arnstein (Arnstein, 1969). Research results indicated that the case study of U-Thong ancient city, civil society has level of participation of 3-5. It can explain that people, community in this tourist area, civil society organization, and Dwarawadee U-Thong ancient city tourism promotion club had limitation on participation, they only involved in some areas. Most major development were held by government office and Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (DASTA) through its master plan. But DASTA supported community participationin tourism management. In the case study of 100 years old Sam Chuk Market, the level of people and civil society participation has level of participation 6-8. It implied that society has the highest participation level. They participated in planning, decision making, and managing tourist areas by themselves. They can develop tourist attractions as per community satisfaction Recommendations; local administration office should be more participate and let community setting up policy about community tourism development consistent with the problems and needs of community and civil society. Moreover, they should promote participation between community and tourists, and there should be procedure to relay local wisdom to society, tourists, and new generation.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Santi Patapan.pdf4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.