Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/833
Title: | การศึกษาผลิตภัณฑ์ห้อมจากธรรมชาติสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้วยการออกแบบ(กรณีศึกษา บ้านนาคูหา อำเภอเมือง จังหวัดแพร่) |
Other Titles: | An education of Hom from nature to be value add to design (case study from Nakuha Village, Amphoe Muang, Phrae) |
Authors: | เอกพงษ์ ตรีตรง |
metadata.dc.contributor.advisor: | ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์ |
Keywords: | ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ -- การออกแบบ -- วิจัย;ผลิตภัณฑ์ม่อฮ่อม -- การออกแบบ -- วิจัย;ผ้าพื้นเมือง -- ไทย -- แพร่ |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษากระบวนการผลิตห้อมบ้านนาคูหา อำเภอเมือง จังหวัแพร่ 2) การทดลองใช้ประโยชน์ของเนื้อห้อม มาย้อมร่วมกับวัสดุอื่น ๆ เช่น ไม้วีเนียร์ กระเบื้อง ผ้า และทดลองใช้นํ้ากรองเนื้อห้อมสกัดนำมาเป็นส่วนผสมของเครื่องสำอาง วิธีดำเนินการวิจัย 1) ศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากห้องสมุด เว็บไซต์ รวมถึงสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้าน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษากระบวนการวิธีผลิตเนื้อห้อม 3) ศึกษาเรื่องรูปแบบผลิตภัณฑ์ดั้งเดิมของห้อม และการทดลองเนื้อห้อมกับวัสดุอื่น ๆ ผลการวิจัย ต้นห้อมที่ปลูกบ้านนาคูหา ปลูกด้วยสภาพอากาศ ช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายนดีที่สุด วัสดุที่ย้อมได้ดีที่สุดคือผ้าฝ้ายจากธรรมชาติ เพราะห้อมที่ย้อมมีประจุลบและมีโมเลกุลใหญ่สามารถดึงดูดกับฝ้ายได้ดี เนื้อห้อมย้อมได้ดีกับไม้วีเนียร์ เพราะเป็นวัสดุจากไม้แผ่นบางมีความหนาไม่เกิน 0.3 มิลลิเมตร สามารถดูดซับสีจากห้อมได้ เนื้อห้อมย้อมไม่ติดกับเส้นกก หวายถัก และกระเบื้องที่การเผาในอุณหภูมิ 1,300 องศาเซลเซียส ส่วนของนํ้ากรองเนื้อห้อมนำมาทดลองโดยใช้สารสกัดจากห้อมทำสบู่เหลว ผลที่ได้คือมีกลิ่นหอมที่เพิ่มขึ้น ข้อสรุปผลที่ได้จากการวิจัยสามารถย้อมวัสดุตกแต่งจำพวกไม้ และผ้าให้มีสีสันที่สวยงามเป็นส่วนผสมของสบู่เหลว และมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการสร้างสรรค์การย้อมบนวัสดุอื่นๆ เช่น พลาสวูด ไม้อัด MDF และพัฒนาถึงขั้นตอนการผลิตเฟอร์นิเจอร์จากการย้อมห้อม และการสร้างกระบวนการ แบบแผน (value add impact organization) ชี้แนะแนวทางเพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้เกษตรกรอื่นๆเพื่อเพิ่มมูลค่าจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรอื่นๆต่อไป |
metadata.dc.description.other-abstract: | This research has objects to 1) study about the production process of Nakuha village, Amphoe muang, Phrea 2) Experiment the flesh of Hom, dying it with other materials like veneer wood, tile and fabric. Moreover, experiment the water filter from Hom, which could extract to make a cosmetic. Procedure of the research is 1) studying and collecting any information and related researches from a library, website, and also interviewing a philosopher from local area and any related organizations. 2) Studying about the production of the flesh of Hom. 3) Studying about the previous type of product from Hom and experiment the flesh of Hom with other materials. Result of the research, Hom that plant in Nakuha village is growing in the best season, October-November. The best material that can be dyed with Hom is Cotton from nature, because the Hom has negative charge and big molecule, which can do well with cotton. And Hom is also dying well with veneer wood, because of the 0.3 mm. thinness of the material. About the water filter from the flesh of Hom, the experiment is by using the extract substance to make a liquid soap, it make the more fragrance smell from the product. The conclusion from the research is that Hom can dye with some decorative materials which are wood and fabric. It also can be one of the ingredients of liquid soap and friendly with the environment. As well as, the creativity to find others materials in the dying process, like plaswood, MDF board and developing into the production of many furniture, also the value-added impact organization to guide and being the inspiration to other farmers to add more value to their product. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การออกแบบ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/833 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | Art-AD-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Akekapong Treetrong.pdf | 3.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.