Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/938
Title: การออกแบบสื่อแอนิเมชันเพื่อกระตุ้นให้เห็นถึงผลกระทบต่อคนรอบข้างที่เกิดจากการเสพติดโทรศัพท์มือถือ
Other Titles: Animation design and smartphone addiction:impact on user’s social groups
Authors: ณิชกานต์ ดวงจำปา
metadata.dc.contributor.advisor: พิศประไพ สาระศาลิน
Keywords: แอนิเมชั่น -- การผลิต;โทรศัพท์มือถือ;สมาร์ทโฟน -- แง่สุขภาพ
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาพฤติกรรมการเสพติดโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน การให้ความสนใจกับโทรศัพท์มือถือมากกว่าคนรอบข้างหรือสถานการณ์แวดล้อม หรือฟับบิ่ง (Phubbing) และผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจจากพฤติกรรมการเสพติดโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ของคนรอบข้าง เพื่อนำข้อมูลมาเป็นแนวทางผลิตสื่อแอนิเมชันสองมิติเรื่อง “Now you see me” ใน การรณรงค์กระตุ้นให้ผู้ชมหันมาใส่ใจผลกระทบต่อคนรอบข้างที่เกิดจากการเสพติดโทรศัพท์มือถือ โดยค้นคว้ารวบรวมแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการเสพติดโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ภาพยนตร์ โฆษณาส่งเสริมสังคม หลักในการผลิตแอนิเมชัน รวมถึงศึกษาตัวอย่างสื่อรณรงค์พฤติกรรมการเสพ ติดโทรศัพท์มือถือ จากงานวิจัย เอกสาร วารสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง ส่วนเครื่องมือที่ ใช้ในวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการผลิตแอนิเมชัน ได้แก่ Adobe Photoshop CC 2017 Adobe Illustrator CC 2017 Adobe After Effects CC 2017 และ Adobe Premiere Pro CC 2017 และมีการประเมินคุณภาพสื่อโดยให้กลุ่มตัวอย่าง ช่วงอายุ 15 - 35 ปี จำนวน 50 คน รับชมผลงานและทำแบบสอบถามออนไลน์ผ่าน Google Docs นำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติ สรุปผลและนำความเห็นที่ได้รับมาปรับปรุงสื่อแอนิเมชัน ซึ่งผู้วิจัยมีความเห็นว่าการสร้างสื่อแอนิเมชันเพื่อรณรงค์จำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมด้านจิตวิทยาในการจูงใจ รวมถึงเทคนิคในการเล่าเรื่อง
metadata.dc.description.other-abstract: This research aims to study the behavior of smartphone addiction (phubbing) and its effects on mental health of users’ social groups and families in order to create a twodimensional animation called “Now you see me”, which means to emphasize the problems of smartphone addiction. “Now you see me” creatively shows the analysis done on different published research in peer-reviewed journals focusing on smartphone addiction theories, public service advertising and the principles of animation. Research instruments used to create the animation were Adobe Photoshop CC 2017, Adobe Illustrator CC 2017, Adobe After Effects CC 2017, Adobe Premiere Pro CC 2017. The quality of animation was evaluated by 50 volunteers between the age of 15 and 35 through online questionnaires with Google Docs form. After online questionnaires were completed, a statistical analysis was conducted to find the conclusion and to improve the process of animation. In my opinion, to create an effective campaign with animation is necessary to intensively study about motivational psychology and storytelling techniques.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.(คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: คอมพิวเตอร์อาร์ต
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/938
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:DIA- ComArt-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitchakarn Duangjumpa.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.