Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/104
Title: การพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบmacro model ร่วมกับแผนผังมโนมติ
Other Titles: Development of grade 11 students’ conceptual understanding in science on movement in living things by using the macro model and concept mapping
Authors: หทัยทิพย์ สืบศรี
metadata.dc.contributor.advisor: อภิธวัฒน์ จรินทร์ธนันต์
Keywords: วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา);การจัดการเรียนรู้
Issue Date: 2562
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาการพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตร์ และเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนก่อนและหลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับแผนผังมโนมติ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 40 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ MACRO model ร่วมกับแผนผังมโนมติ วิชาชีววิทยา เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 แบบวัดมโนมติทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบ ค่า t – test แบบ dependent และ Normalized Gain ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 (t = 23.54, p = 0.00) นอกจากนี้ยังพบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับกลาง (Medium Gain) เท่ากับ 0.80 และมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t = 37.51, p = 0.00)
metadata.dc.description.other-abstract: The objectives of this research were to develop grade 11 students’ conceptual understanding in science and to compare their learning achievement before and after learning a biology lesson on movement in living things by using the MACRO model and concept mapping. The samples were a class of 40 students studying in Mathayom 5 (grade 11) in Science – Math Program. The research instruments were lesson plans designed based on the MACRO model and concept mapping and a learning achievement test on movement of living things. The collected data were analyzed by using mean ( X ), standard deviation (S.D.), dependent t – test and normalized gain. The results showed that the students’ posttest average score in conceptual understanding in science was significantly higher than the pretest average score with a significance level of .05 (t = 23.54, p = 0.00). In addition, it was found that the students’ learning achievement was at a medium level with an average normalized gain of 0.80. The students’ posttest scores were higher with a significance level of .05 (t = 37.51, p = 0.00). The findings indicated that the MACRO model and concept mapping could improve students’ conceptual understanding in science as well as their learning achievement.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การสอนวิทยาศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/104
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hathaithip Suebsri.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.